ความรู้ที่ได้รับ
*ทบทวนพัฒนาการ*
ทฤษฎีเพียเจต์
ขั้นที่1 เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5
ขั้นที่1 เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5
ขั้นที่2 เด็กเริ่มใช้ภาษามากขึ้นและมีเหตุผล
ทฤษฎีบรูเนอร์
1.ขั้นการกระทำ--->จากประสาทสัมผัสทั้ง 5
2.ขั้นความคิด--->สร้างมโนภาพในใจได้
3.ขั้นสัญลักษณ์และนามประธรรม--->ใช้เหตุผลได้ และมีรับรู้สิ่งที่ซับซ้อนได้มากขึ้น
ทฤษฎีไวกอตสกี้
1.เด็กต้องการกระบวนการสนับสนุน และเพิ่มพูนพัฒนาการทำให้พัฒนาการเกิดการเปลี่ยนแปลงจากภายใน เด็กจะมีความคิดที่อยากจะทำเอง โดยไม่ใช้คำสั่งของคนอื่น และการสนับสนุนนั้นจากสภาพแวดล้อมและเพื่อน
2.เด็กต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น และการสื่อสารจากผู้ปกครองและคุณครู ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญ จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กบ่อยๆ
*คุณลักษณะตามเด็กปฐมวัย*
คือ พฤติกรรมตามวัย ซึ่งมีพัฒนาการเป็นไปตามธรรมชาติทั้ง 4 ด้าน
*ทฤษฎีเพียเจต์กับความรู้คณิตศาสตร์*
1.ด้านกายภาพ--->ความรู้ที่เกิดจากภายนอกโดยตรง
2.ด้านเหตุผล--->ความรู้ที่เกิดจากภายในเชื่อมโยงกับทฤษฎีโดยการลงมือปฏิบัติซึ่งเป็นผลสะท้อน เด็กต้องปฏิบัติบ่อย จากกิจกรรมเพื่อเชื่อมโยงหาข้อเท็จจริง
*จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย*
1.เพื่อให้เด็กเข้าใจพื้นฐานคณิตศาสตร์ รู้จักคำศัพท์
เช่น เวลา รูปทรง ขนาด เป็นต้น
เช่น เวลา รูปทรง ขนาด เป็นต้น
2.พัฒนาการคิดมโนภาพ
เช่น การบวก-->ทำให้เพิ่มขึ้น การลบ-->ทำให้น้อยลง
เช่น การบวก-->ทำให้เพิ่มขึ้น การลบ-->ทำให้น้อยลง
3.รู้จักขั้นตอนในการหาคำตอบ
4.ฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
5.มีความรู้ ความเข้าใจ ค้นหาคำตอบด้วยตนเอง
*ทักษะพื้นฐานของคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย*
1.การสังเกต
2.การจำแนกประเภท-->หาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการจำแนก เกณฑ์ที่ใช้ต้องใช้เกณฑ์เดียว
3.การเปรีบยเทียบ-->ต้องหาความสัมพัธ์ของวัตถุสองสิ่งขึ้นไป และเด็กต้องรู้จักคำศัพท์ที่ใช้ เช่น มากกว่า น้อยกว่า เท่ากัน เป็นต้น
4.การเรียงลำดับ-->จะต้องเปรียบเทียบแล้วนำมาจัดลำดับ เช่น น้อยไปหามาก ใหญ่กลางเล็ก จัดลำดับวัตถุและเหตุการณ์
5.การวัด-->จะต้องใช้ความสัมพันธ์ความสามารถและการอนุรักษ์ เช่น การวัดอุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนักเป็นต้น ซึ่งเครื่องมื่อที่ใช้ในการวัดนั้นจะต้องไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
6.การนับ-->เด็กชอบนับแบบท่องจำหรือปากเปล่า ซึ่งไม่มีความหมาย จะมีความหมายก็ต่อเมื่อเชื่อมโยงกับเรื่องในชีวิตประจำวัน หรือมีจุดมุ่งหมาย
7.รูปทรงและขนาด-->เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนเข้าเรียน เพราะเด็กมีประสบการณ์เดิมจากการมองเห็นสิ่งต่างๆรอบตัว
*หลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย*
1.สอนให้สอดคล้องในชีวิตประจำวัน
*คำศัพท์คณิตศาสตร์*
1.สอนให้สอดคล้องในชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้ค้นพบด้วยตนเอง
3.ครูจะต้องมีการวางแผนที่ดี
4.เอาใจใส่กับพ้ฒนาการของเด็ก
*คำศัพท์คณิตศาสตร์*
ตัวเลข ขนาด รูปทรง
ที่ตั้ง ค่าของเงิน ความเร็ว
*เพลง*
ตื่นเช้าแปลงฟันล้างหน้า อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คุณพ่อ ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
ทักษะ
*ทำแบบทดสอบก่อนเรียน*
*ระดมความคิด*
*ทำกิจกรรมเปรียบเทียบเวลา*
สามารถเช็คชื่อนักเรียนที่มาเรียนได้ แล้วนำมาสอนให้สอดคล้องกับคณิตศาสตร์ ในเรื่องการนับ เวลา ได้อีกด้วย
*การร้องเพลง*
วิธีการสอน
-ใช้การบรรยายประกอบ Power point
-ใช้คำถามในการสอน
-มีการระดมความคิดร่วมกับนักศึกษา
-การแนะนำ
-การร้องเพลง
การประเมิน
*ห้องเรียน*
อุปกรณ์ในห้องสะดวกต่อการใช้งาน
*ตัวเอง*
มาเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย พูดจาสุภาพ ต้องใจฟัง มีส่วนร่วมในการตอบคำถามที่อาจารย์ถาม เข้าใจในเนื้อหา สามารถอธิบายและตอบอาจารย์ได้
*เพื่อนในห้องเรียน*
เพื่อนมีส่วนร่วมในการตอบคำถามและวิเคราะห์คำตอบช่วยกันเป็นอย่างดี แต่เพื่อนที่นำเสนอ โทรทัศน์ครู เวลาออกมาพูด พูดไม่ค่อยชัดเจน สักเท่าไร
*อาจารย์ผู้สอน*
เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ พูดจาไพเราะ ยิ้มแย้มแจ่มใส สร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้น่าเรียนด้วยเสียงหัวเราะ ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียน เช่น การตอบคำถาม และเมื่ออาจารย์สอน จะยกตัวอย่างที่ทำให้นักศึกษาเข้าใจง่ายในเรื่องที่เรียน
ขอให้ปรับเปลี่ยนการเขียนบันทึกจากการบันทึกการสอนของครูที่เหมือนกับการสอนของครู เป็นการสรุปความเข้าใจในแต่ละเรื่องนะคะ......นี่คือที่มาของการไม่ให้ถ่ายรูปคะ
ตอบลบ-ขอให้ตรวจสอบคำผิดก่อนเผยแพร่นะคะ